แม่บทแห่งธรรม ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร หรือที่เขียนตามพจนานุกรมว่า ธัมมจักกัปปวัตนสูตร มีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะเป็นพระสูตรที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประกาศพระสัมมาสัมโพธิญาณและเป็นพระสูตรที่เป็นแหล่งรวมของหลักธรรมสำคัญ ๆ ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงเป็นครั้งแรกแก่ปัญจวัคคีย์ พระสูตรนี้จึงได้สมญาว่า “ปฐมเทศนา”...
ลูกเอาแต่เรียนไม่ช่วยทำงานบ้าน
คำถาม : ลูกมีผลการเรียนดี สติปัญญาดี แต่มีปัญหาคือ เอาแต่เรียนอย่างเดียว ไม่ช่วยทำงานบ้าน กิจวัตรของตัวเองก็ไม่ทำเลย เช่นซักผ้า รีดผ้า ล้างจาน พอบอกให้ทำก็บอกว่าเรียนมาเหนื่อยแล้ว แต่เค้าก็เป็นเด็กดีคือตั้งใจเรียนไม่ได้ไปทำงานที่ไหน ถ้าเป็นแบบนี้เราจะมีวิธีสอนเขาอย่างไรดีคะ
การปฏิบัติเพื่อฝึกใจตามเส้นทางสายกลาง
ในธัมมจักกัปปวัตนสูตรอันเป็นพระสูตรที่กล่าวถึงปฐมเทศนาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงกล่าวถึง มัชฌิมาปฏิปทา หรือ ทางสายกลาง ซึ่งเป็นหนทางหรือข้อปฏิบัติที่ไม่ตึงเกินไปจนเป็นความลำบากแก่ตน (อัตตกิลมถานุโยค) ไม่หย่อนเกินไปจนเป็นการพอกพูนกามกิเลส(กามสุขัลลิกานุโยค) ...
ความจน - ความรวยในพระพุทธศาสนา
หนึ่งในความยากลำบากที่น่ากลัวที่สุดในการดำเนินชีวิตของคนในระหว่างที่ยังต้องเวียนว่ายตายเกิดก็คือ ความยากจน เพราะว่าความยากจนเป็นสิ่งที่บีบคั้นให้เกิดปัญหาอีกหลายอย่างขึ้นในโลก
การเป็นนักสร้างบุญบารมี
ทางมาแห่งบุญ หรือวิธีการเพื่อให้ได้บุญมาขจัดอุปสรรคของชีวิต เรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ คือ สิ่งที่เป็นที่ตั้งแห่งการทำบุญหรือเรื่องที่จัดเป็นการทำบุญ เป็นหนทางในการทำความดีหรือเป็นทางมาแห่งบุญ มี ๓ ประการ คือ
กลวิธีแก้ไขความผันแปรของสภาพอากาศโลก
นับวันสภาพอากาศในโลกของเราจะแปรปรวนไปมากยิ่งขึ้น มนุษย์กำลังเผชิญหน้ากับภัยทางธรรมชาติที่รุนแรงเพิ่มขึ้นทั่วทุกมุมโลก ทั้งอากาศร้อนจัด หนาวจัด เกิดพายุแผ่นดินถล่ม น้ำท่วม แผ่นดินไหว สึนามิ เป็นต้น ในประเทศไทยก็พบกับปัญหาภัยแล้งและอากาศที่ร้อนกินช่วงระยะเวลายาวนานกว่าทุก ๆ ปีที่ผ่านม
วิธีขจัดความขี้เกียจออกจากตัวเรา
คำถาม : เราจะขจัดความขี้เกียจออกจากตัวเราได้อย่างไรคะ
คุณสมบัติของผู้บวชในพระพุทธศาสนา
ในช่วงฤดูร้อนของทุกปีจะมีโครงการบรรพชาและอุปสมบทหมู่ภาคฤดูร้อนทั่วประเทศ ซึ่งเป็นโอกาสที่เหล่ากุลบุตรจะได้เข้ามาศึกษาเรียนรู้ธรรมะและปฏิบัติธรรมเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต และเพื่อการเป็นพุทธบริษัท ๔ ที่ดี
บริหารเวลาด้วยกาลัญญู
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเล็งเห็นคุณค่าของเวลาชีวิต และทรงให้แนวทางแก่พระภิกษุในพระพุทธศาสนาในการบริหารเวลา ดังนี้....
เหตุการณ์สำคัญในวันตั้งมโนปณิธานว่าจะบวชตลอดชีวิต
ย้อนไป ๑๑๒ ปี มีเด็กหนุ่มวัย ๑๙ ปี ซึ่งต่อมา คือ พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ กำลังทำหน้าที่เป็นพ่อค้าข้าวแทนบิดาที่เสียไปตั้งแต่อายุ ๑๔ ปี และได้เป็นหัวแรงสำคัญของครอบครัว ได้ตั้งจิตอธิษฐานขอบวชตลอดชีวิตทำให้เป็นจุดหักเหให้ท่านเลือกเส้นทางเดินชีวิตที่ต่างจากคนทั่วไป